อาหารที่รับประทานมีผลต่ออุปนิสัยใจคออีกด้วยจริงเหรอ?

Must Read

Jiradech Suchada
Jiradech Suchadahttps://www.itmoamun.com/
การตลาดออนไลน์ เทคโนโลยี ธุรกิจ Passive Income ทำตัวเป็น Blogger แถมกด Shutter รัวๆ แล้วออกไปปั่นๆ พร้อมทั้งเก็บเป็นเรื่องราวดีๆผ่านพื้นที่ตรงนี้ออกมาเป็นบทความ รูปภาพ วิดีโอ แบบเล่าสู่กันฟัง อย่าลืมมาติดตามกันนะครับ

อาหารมีผลต่ออุปนิสัย

เชื่อหรือไม่ว่า อาหารที่เรารับประทานกันอยู่ทุกวันนี้ มีผลต่ออุปนิสัยใจคออีกด้วย เชื่อหรือไม่ว่า อาหารที่เรารับประทานกันอยู่ทุกวันนี้ นอกจากจะช่วยเสริมสร้างความเจริญเติบโตให้กับร่างกายแล้ว ยังมีผลต่ออุปนิสัยใจคออีกด้วย จากการศึกษาของแพทย์พบว่า อาหารมีอิทธิพลต่ออารมณ์อันไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นจู้จี้ขี้บ่น หงุดหงิดโมโหง่าย ขลาดกลัว แปรปรวน ซึ่งถ้าแสดงออกมาบ่อยเข้าก็จะกลายเป็นนิสัยถาวร จริง ๆ แล้วเบื้องหลังของนิสัยเหล่านี้ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากร่างกายขาดสารอาหารบางอย่างนั่นเอง ข้อมูลจากผลการวิจัย กล่าวว่าคนที่มีอารมณ์แปรปรวน หงุดหงุดโมโหง่าย นั้น มักจะขาดแคลเซียม คนที่มีอารมณ์แปรปรวน หงุดหงุดโมโหง่าย นั้น มักจะขาดแคลเซียม ยิ่งถ้าขาดมาก ๆ ก็จะมีอาการเกรี้ยวกราดร่วมด้วย วิธีแก้ก็คือ เติมสิ่งที่ขาดหายไปโดยการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียม เช่น นม ปลาตัวเล็กที่รับประทานก้างได้ เป็นต้น สำหรับคนที่ขาดวิตามินบี มักจู้จี้ขี้บ่น ทั้ง ๆ ที่วัยยังไม่สูงเท่าไรนัก ควรรับประทานอาหารจำพวกข้าวซ้อมมือ ไข่ ตับ ถั่วเหลือง กล้วยน้ำว้า เป็นต้น ส่วนคนที่ขี้กลัว ไม่ค่อยกล้าแสดงออกในเรื่องที่ถูกต้อง ก็เนื่องมาจากขาดวิตามินซีและเอที่พบมากในผัก ผลไม้ต่าง ๆ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะสารอาหารและแร่ธาติดังกล่าวมีผลต่อระบบการทำงานของสมองที่มีหน้าที่หลั่งสารแห่งความสุขออกมานั่นเอง สิ่งเหล่านี้เป็นการย้ำว่าสารอาหารที่ครบถ้วนสำคัญต่อมนุษย์มากเพียงใด และคำว่า you are what you eat ยังใช้ได้อยู่เสมอจริง ๆ.

อัพเดท! ก่อนใคร

เรื่องราวเจ๋งๆ ล้ำๆ สดใหม่ถึงคุณโดยตรงเพียงแค่กรอก Email ไว้เท่านั้น

รายละเอียดเงื่อนไขที่ privacy policy.

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here

- Advertisement -

Latest News

สรุปสถานการณ์ตลาดการเงินและเศรษฐกิจโลก: ผลกระทบจาก Fed, ราคาน้ำมัน

ตลาดหุ้นทั่วโลกประสบกับการปรับตัวลดลง ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐพุ่งสูงขึ้น ภายใต้ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการตัดสินใจของธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) ในเรื่องการปรับลดอัตราดอกเบี้ย ด้านราคาน้ำมันพบกับความผันผวน โดยมีการเพิ่มขึ้นในสัปดาห์ก่อน และลดลงในวันที่ 8 เมษายน หลังการเจรจาหยุดยิงในตะวันออกกลาง ทองคำก็ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเช่นกัน เหตุการณ์แผ่นดินไหวในไต้หวันส่งผลกระทบจำกัดต่ออุตสาหกรรมผลิตชิป และตลาดหุ้นจีนได้รับประโยชน์จากข้อมูลเศรษฐกิจที่ดีกว่าคาด เงินเฟ้อในยุโรปก็แสดงถึงการลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจนำไปสู่การลดดอกเบี้ยจากธนาคารกลางยุโรป (ECB) ในเดือนมิถุนายน ด้านผู้จัดการกองทุนต่างคาดการณ์ว่าตลาดโดยรวมจะแกว่งตัวตามข้อมูลเงินเฟ้อและผลประกอบการของบริษัทในสหรัฐฯ ภาพรวมตลาดที่ผ่านมาแกว่งตัวในแนวข้าง...
- Advertisement -

More Articles Like This