Monday, July 7, 2025
33.4 C
Bangkok

เด็ก ม. ปลายใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เล็กๆ ตรวจวัดสนามแม่เหล็กของโลกจาก ISS ได้สำเร

คอไอทีทุกคน ครั้งนี้เรามีข่าวที่น่าตื่นเต้นจะแจ้งให้ทราบว่า เด็ก ม.ปลาย ชาวโปรตุเกส 3 คนสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เล็กๆ ตรวจวัดสนามแม่เหล็กของโลกจากสถานีอวกาศนานาชาติได้สำเร็จ ระบบตรวจสอบดังกล่าวถูกสร้างขึ้นโดยการติดตั้งโปรแกรมส่วนเสริมเล็กๆ ที่ราคาไม่แพงเข้าไป รายละเอียดเรื่องนี้จะเป็นอย่างไร เรามาติดตามกันเลย

สรุปข้อมูลและรายละเอียดที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้ดังนี้

  • ส่วนเสริมนี้ที่ติดตั้งเข้ากับเครื่องคอมของเด็กๆ นี้ มีชื่อเรียกว่า Sense Hat เป็นเครื่องสำหรับใช้วัดค่าความเข้มข้นของสนามแม่เหล็ก อีกทั้งยังได้ทำการติดตั้งไจโรสโคป, มาตรวัดความเร่ง, เซ็นเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ ความดันและความชื้น อย่างไรก็ตามการติดตั้ง Sense Hat จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเรากลายเป็นเครื่องตรวจสอบโลกได้
  • โครงการของเด็กมีชื่อว่า “Modeling the Earth’s magnetic field” หรือ “การสร้างแบบจำลองสนามแม่เหล็กโลก” ดำเนินการโดยเด็ก 3 คน ลอเรนโซ ฟาเรีย (Lourenço Faria), แบร์นาร์โด อัลเวส (Bernardo Alves), มิเกล ซิมบรอน (Miguel Cymbron), และครูที่ปรึกษานูโน บาร์รอส อิซา (Nuno Barros e Sá) เป็นโครงการที่ถูกส่งเข้าไปแข่งขันในรายการ RaspberryPi Foundation จัดขึ้นโดยองค์กร European Space Agency ที่จับมือกับมูลนิธิ Raspberry Pi ของสหราชอาณาจักร มีธีมจัดงานในการนำเครื่องคอมพิวเตอร์ Raspberry Pi ที่ใช้บนสถานีอวกาศนานาชาติมาใช้ เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่มีคุณค่าในด้านวิทยาศาสตร์ออกมาให้ได้
  • สถานีอวกาศจะทำการรับข้อมูลสนามแม่เหล็กโลก เพื่อนำมาสร้างแผนที่สนามแม่เหล็กของโลก ซึ่งผลงานของเด็ก ๆ ก็สามารถสร้างแผนที่ดังกล่าวออกมาได้อย่างถูกต้องและแม่นยำเช่นกัน ช่วยลดระยะเวลาในการอัปเดตข้อมูลแผนที่สนามแม่เหล็กของโลกจากทุก ๆ 5 ปี มาเหลือเพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น รวมถึงยังใช้ต้นทุนที่ถูกกว่ามาก เมื่อเทียบกับเครื่องมือที่บนสถานีอวกาศทำ รวมถึงในอนาคตมันอาจถูกทำมาเป็นแอปพลิเคชัน ที่ให้เราวัดเคลื่อนแม่เหล็กโลกได้จากมือของเราโดยตรงอีกด้วย
  • สนามแม่เหล็กของโลกเป็นคลื่นที่แผ่ขยายออกไปในอวกาศนับหมื่นกิโลเมตร ก่อตัวกลายเป็นสนามแม่เหล็กของโลก เครื่องวัดค่าความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กแบบฟลักซ์เกตและเครื่องวัดค่าความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กแบบโปรตอนมักจะถูกนำมาใช้เพื่อตรวจวัดค่าสนามแม่เหล็กโลก จนกระทั่งในปี 2018 นักวิจัยชาวแคนาดา สหรัฐและในยุโรป ได้ทำการพัฒนาและหาวิธีใหม่ในการตรวจวัดค่าสนามแม่เหล็กโลกจากระยะไกล ด้วยการใช้การปะทะชั้นของอะตอมโซเดียมที่ลอยอยู่เหนือโลก 100 กิโลเมตร โดยมีเลเซอร์ตั้งอยู่บนพื้น

 

และนี่ก็คือข่าวความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจในแวดวงอวกาศที่เราอยากแจ้งให้เพื่อนๆ ได้ทราบในครั้งนี้ ก็หวังว่าจะเป็นที่ชื่นชอบถูกใจคอไซไฟทุกคน และหากมีเรื่องราวที่น่าสนใจเช่นนี้อีก เราจะรีบมาอัพเดทให้ทุกท่านได้ทราบก่อนใครทันที

อัพเดท! ก่อนใคร

เรื่องราวเจ๋งๆ ล้ำๆ สดใหม่ถึงคุณโดยตรงเพียงแค่กรอก Email ไว้เท่านั้น

This field is required.

รายละเอียดเงื่อนไขที่ privacy policy.

Hot this 48 hr.

ผู้บริหาร Palantir ออกโรงปกป้องบริษัท หลังถูกวิจารณ์หนักเรื่องการสอดแนมคนเข้าเมืองในสหรัฐฯ

Palantir Technologies บริษัทเทคโนโลยีด้านข้อมูลและวิเคราะห์ระดับโลก กลับมาเป็นกระแสอีกครั้ง หลังมีข่าวว่าบริษัทเข้าไปมีบทบาทสำคัญในระบบสอดแนมและติดตามผู้เข้าเมืองในสหรัฐฯ โดยล่าสุดหนึ่งในผู้บริหารระดับสูงของ Palantir ได้ออกมาปกป้องบริษัทอย่างชัดเจน พร้อมยืนยันว่า...

ย้อนอดีตจีน: สำรวจสิ่งที่เก่าแก่กว่าราชวงศ์เซี่ยและตำนานอันน่าตื่นเต้น

สวัสดีเพื่อน ๆ ชาวอ่านทุกคน วันนี้เรามาพูดคุยเรื่องราวประวัติศาสตร์จีนในสมัยก่อนที่หลายคนอาจยังไม่รู้จักกันมากนัก “ราชวงศ์เซี่ย” นั่นเองที่หลายคนมองว่าเป็นราชวงศ์แรกของจีนตามบันทึกในประวัติศาสตร์ แต่จริง ๆ แล้ว...

Gemini เพิ่มฟีเจอร์ Live Video และแชร์หน้าจอ เริ่มใช้ได้แล้วบน Pixel 9 และ Galaxy S25

Google เดินหน้าพัฒนา Gemini AI อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดได้เริ่มปล่อยฟีเจอร์ใหม่ “Live Video” และ...

คอร์สเรียน Coursera แรงไม่หยุด! คนไทยแห่เรียน GenAI เพิ่ม 330% ในปี 2024 พร้อมทักษะใหม่มาแรง!

Coursera เผยเทรนด์การเรียนในไทย ปี 2024 ยอดเรียน GenAI พุ่ง 330% ปี 2024...

Yimyew นักศึกษาสาวสวยจาก ม. รังสิต สวย น่ารัก เที่ยวเก่ง น่าติดตาม

สวัสดีเพื่อนๆ ชาว ไอทีเมามันส์ ทุกคน กลับมาพบกันอีกครั้งกับการแนะนำให้รู้จักสาวสวยสายท่องเที่ยว สำหรับในครั้งนี้เพื่อนๆ จะได้สัมผัสความสวยของน้อง น้อง Yimyew...

Topics

OpenAI เปิดตัวโมเดล o3-pro ใน ChatGPT: แรงขึ้น ฉลาดขึ้น และใกล้มนุษย์มากกว่าเดิม!

OpenAI ประกาศเปิดตัวโมเดลใหม่ล่าสุดในตระกูล GPT อย่าง “o3-pro” สำหรับ ChatGPT โดยเริ่มใช้งานได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ใครที่เป็นแฟนคลับสาย...

ฟีเจอร์ “Scheduled Actions” ใน Gemini: จัดคิวงานให้เอไอทำแทนแบบไม่ต้องคอยสั่งเอง

Gemini (ผู้ช่วย AI ของ Google) เพิ่งปล่อยฟีเจอร์ใหม่ชื่อ Scheduled Actions ให้เรา...

เมื่อ OpenAI มอง “ความสัมพันธ์มนุษย์-AI” สูงส่งเกินจริง แต่ผู้คนอินกับแชทบอทไปไกลแล้ว

ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับ AI ไม่ได้เป็นเรื่องอนาคตอีกต่อไป—มันเกิดขึ้นตรงหน้า OpenAI เพิ่งโพสต์บล็อกโดย Joanne Jang ชี้แจงว่าบริษัทกำลังออกแบบโมเดลให้ “ดูอบอุ่นแต่ไม่แกล้งทำเป็นมีจิตวิญญาณ”...

Liquid Glass ดีไซน์ใหม่สุดล้ำของ Apple – การพลิกโฉมหน้าตาอุปกรณ์ครั้งใหญ่ในรอบหลายปี

ในงาน WWDC 2025 Apple เปิดตัว “Liquid Glass” ภาษาดีไซน์ใหม่ที่ลากเส้นบาง ๆ...

Related Articles

Popular Categories

spot_img