“แบตเตอรี่กระดาษ” บางเพียง 0.4 มม. ย่อยสลายเองได้

Must Read

สวัสดีคอเทคโนโลยีทุกคน วันนี้เรามีนวัตกรรม “แบตเตอรี่กระดาษ” บางเพียง 0.4 มม. มาแนะนำให้ทุกท่านได้รู้จัก โดยจุดเด่นของมันก็คือเมื่อใช้หมดแล้ว สามารถย่อยสลายได้ ใครสนใจก็ตามมาดูรายละเอียดที่ด้านล่างนี้กันได้เล้ยย

สรุปข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี แบตเตอรี่กระดาษ ได้ดังนี้

  • ปัญหาหนึ่งของการพัฒนาแบตเตอรี่คือเรื่องของขนาดที่มักจะใหญ่และหนัก
  • ด้วยเหตุนี้ ทำให้ล่าสุดนักวิทยาศาสตร์จาก NTU ประเทศสิงคโปร์ ได้พัฒนาแบตเตอรี่แบบใหม่ที่ผลิตจากกระดาษ และสามารถย่อยสลายได้
  • แบตเตอรี่กระดาษนี้มีความหนาเพียง 4 มม. ประกอบไปด้วยขั้วไฟฟ้าที่พิมพ์เข้ากับแผ่นกระดาษ ซึ่งผลิตจากเส้นใยเซลลูโลสเสริมไฮโดรเจล เคลือบด้วยชั้นฟอยล์สีทองบาง ๆ บนขั้วไฟฟ้าเพื่อเพิ่มศักยภาพการนำไฟฟ้าให้แก่แบตเตอรี่
  • ทีมนักวิจัยได้ทดลองใช้แบตเตอรี่กระดาษนี้กับพัดลมขนาดเล็ก ซึ่งสามารถให้พลังงานได้นานถึง 45 นาทีเลยทีเดียว และเมื่อใช้หมดก็สามารถนำไปฝั่งดินเพื่อให้ย่อยสลายได้ภายในเวลา 1 เดือนอีกด้วย

และนี่ก็คือเทคโนโลยี แบตเตอรี่กระดาษ ที่เราอยากแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักในครั้งนี้ ซึ่งมันก็ถือเป็นอีกหนึ่งนวัตกรรมที่ทีความน่าสนใจมากทีเดียว ไม่แน่ว่าในอนาคตกระดาษอาจจะเป็นวัสดุหลักในให้พลังงานแก่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในอนาคตอย่าง สมาร์ทโฟน แทบเล็ต หรืออุปกรณ์การแพทย์ต่างๆ ก็เป็นได้

อัพเดท! ก่อนใคร

เรื่องราวเจ๋งๆ ล้ำๆ สดใหม่ถึงคุณโดยตรงเพียงแค่กรอก Email ไว้เท่านั้น

รายละเอียดเงื่อนไขที่ privacy policy.

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here

- Advertisement -

Latest News

เผยรายงานคนไทยเผชิญ SMS หลอกลวงมากสุดในเอเชียปี 2566 จาก Whoscall

ในยุคดิจิทัลที่ข้อมูลเป็นสิ่งที่ไหลเวียนได้รวดเร็วที่สุด ประเด็นเรื่องความปลอดภัยสารสนเทศก็เป็นหัวข้อที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงอย่างต่อเนื่อง Whoscall, แอปพลิเคชั่นชั้นนำที่ช่วยในการระบุตัวตนของสายเรียกเข้าไม่ที่รู้จักและการป้องกันข้อความสแปม, ได้เปิดเผยรายงานประจำปี 2566 ที่แสดงให้เห็นว่าคนไทยตกเป็นเหยื่อของ SMS หลอกลวงมากกว่าใครในเอเชียด้วยจำนวนถึง 58 ล้านข้อความ แม้ว่าในภูมิภาคเอเชียโดยรวมจะพบว่าการหลอกลวงมีแนวโน้มลดลงจากการทำงานร่วมกันของภาครัฐและภาคเอกชน แต่ในประเทศไทยกลับพบว่ามีการเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ การหลอกลวงเหล่านี้รวมถึงการส่งข้อความที่มีลิงก์ปลอม, การหลอกลวงเกี่ยวกับการลงทุนและเว็บพนัน และการใช้ชื่อของหน่วยงานรัฐในการหลอกลวง การรายงานจาก Whoscall ยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษในการรับข้อมูล พวกเขายังได้เพิ่มฟีเจอร์ใหม่ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบ URL...
- Advertisement -

More Articles Like This