Google Ads กับการ Upload Customers เพื่อแสดงผลโฆษณาแบบ Personalized

Must Read

Jiradech Suchada
Jiradech Suchadahttps://www.itmoamun.com/
การตลาดออนไลน์ เทคโนโลยี ธุรกิจ Passive Income ทำตัวเป็น Blogger แถมกด Shutter รัวๆ แล้วออกไปปั่นๆ พร้อมทั้งเก็บเป็นเรื่องราวดีๆผ่านพื้นที่ตรงนี้ออกมาเป็นบทความ รูปภาพ วิดีโอ แบบเล่าสู่กันฟัง อย่าลืมมาติดตามกันนะครับ

วงการโฆษณาไม่ได้เพิ่งเกิดสิ่งนี้เป็นครั้งแรก แต่การทำโฆษณาแบบ Personalized ในปัจจุบันนั้นมีความยากมากขึ้นจากกรณีที่มีกฏหมาย PDPA (Personal Data Protection Act) หรือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562. เข้ามาเกี่ยวข้องเพราะได้ถูกนำมาบังคับใช้แล้วในตอนนี้

ทำให้การทำการแสดงผลโฆษณาแบบ Personalized ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับการอนุญาตจากลูกค้าแล้วเท่านั้น ดังนั้นทาง Google Ads เองก็เปิดช่องทางให้นำ Data ที่เป็นข้อมูลลูกค้ามา Targeting ได้ เข้าใจว่าวงการของอุตสาหกรรมของการโฆษณาน่าจะมีมานานแล้ว แต่สำหรับผู้ใช้งาน Google Ads แบบคนธรรมดาอย่างเราๆเนี้ยเพื่อได้มีก Alert แจ้งให้ทราบในระบบ ซึ่งจริงๆแล้วเจ้าบริการนี้มันออกมาตั้งแต่ช่วงพฤศจิกายน ปลายปีที่แล้ว

Google Ads กับการ Upload Customers เพื่อแสดงผลโฆษณาแบบ Personalized

ใครที่มีรายชื่อและข้อมูลลูกค้าในมือและต้องการแสดงผลโฆษณาที่ตรงกับกลุ่มลูกค้านั้นก็สามารถทำได้อย่างง่ายดาย เพียงแค่ Upload ลูกค้าที่เรามีผ่านระบบได้เลย Google Ads ก็จะไปทำการ Customer Match เพื่อแสดงผลโฆษณาได้เลย จะเลือกแบบ by Campaign หรือแบบ Always on ก็ได้เช่นกัน และนอกจากจากเปิดช่องให้ Upload แล้วก็ยังสามารถเชื่อมต่อ DMP (Data Management Platform) ก็ได้เช่นกัน หรืออาจจะส่งเป็น User IDs, Mobile IDs ก็รองรับนะ

Google Ads กับการ Upload Customers เพื่อแสดงผลโฆษณาแบบ Personalized

ใครยังไม่เคยลองใช้ก็ลองดูครับ ส่วนนี้จะเหมาะสำหรับการทำ Re-marketing ผ่าน Google Ads เรียกง่ายๆว่าจะ Uplift Sale เพื่อดึงเงินจากฐานลูกค้าเราเข้ากระเป๋าก็น่าสนใจ

อัพเดท! ก่อนใคร

เรื่องราวเจ๋งๆ ล้ำๆ สดใหม่ถึงคุณโดยตรงเพียงแค่กรอก Email ไว้เท่านั้น

รายละเอียดเงื่อนไขที่ privacy policy.

LEAVE A REPLY

Please enter your comment!
Please enter your name here

- Advertisement -

Latest News

เผยรายงานคนไทยเผชิญ SMS หลอกลวงมากสุดในเอเชียปี 2566 จาก Whoscall

ในยุคดิจิทัลที่ข้อมูลเป็นสิ่งที่ไหลเวียนได้รวดเร็วที่สุด ประเด็นเรื่องความปลอดภัยสารสนเทศก็เป็นหัวข้อที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงอย่างต่อเนื่อง Whoscall, แอปพลิเคชั่นชั้นนำที่ช่วยในการระบุตัวตนของสายเรียกเข้าไม่ที่รู้จักและการป้องกันข้อความสแปม, ได้เปิดเผยรายงานประจำปี 2566 ที่แสดงให้เห็นว่าคนไทยตกเป็นเหยื่อของ SMS หลอกลวงมากกว่าใครในเอเชียด้วยจำนวนถึง 58 ล้านข้อความ แม้ว่าในภูมิภาคเอเชียโดยรวมจะพบว่าการหลอกลวงมีแนวโน้มลดลงจากการทำงานร่วมกันของภาครัฐและภาคเอกชน แต่ในประเทศไทยกลับพบว่ามีการเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ การหลอกลวงเหล่านี้รวมถึงการส่งข้อความที่มีลิงก์ปลอม, การหลอกลวงเกี่ยวกับการลงทุนและเว็บพนัน และการใช้ชื่อของหน่วยงานรัฐในการหลอกลวง การรายงานจาก Whoscall ยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษในการรับข้อมูล พวกเขายังได้เพิ่มฟีเจอร์ใหม่ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบ URL...
- Advertisement -

More Articles Like This